วันจันทร์ที่ 7 มีนาคม พ.ศ. 2554

ปลาสวยงาม

ความนิยมเลีย งปลาสวยงามในประเทศไทยขยายตัวอย่างมากในช่วงระยะ 10 ปี ท ีผ่านมา โดย
นับว่าเป็นงานอดิเรกท ีได้รับความนิยมเลีย งกันในประเทศ เน ืองจากให้ทัง ความเพลิดเพลิน สามารถหามา
เลีย งได้ง่าย เลีย งในพืน ท ีจำกัดได้ ไม่มีเสียงและกล ินรบกวนผู้เลีย ง และจากความนิยมเลีย งปลาสวยงามนี
เอง ทำให้เกิดธุรกิจการซือ ขายปลาสวยงามแพร่หลายในประเทศ ซง ึ ไทยมีความพร้อมของสภาพแวดล้อมท ี
เอือ ต่อการเพาะเลีย งปลาสวยงาม เน ืองจากมีแหล่งนำ อุดมสมบูรณ์ และแนวทะเลทอดยาวทัง ฝ ังทะเลอัน
ดามันและอ่าวไทย ทำให้มีพันธ์ุปลาหลากชนิดทัง นำ จืดและปลาทะเล นอกจากการเติบโตของธุรกิจปลา
สวยงามแล้ว ยังก่อให้เกิดธุรกิจที เกี ยวเนื องตามมาอีกมากมาย ไม่ว่าจะเป็นธุรกิจการผลิตเครื องมือและ
อุปกรณ์ตกแต่งตู้ปลา ยารักษาโรค และธุรกิจท ีเก ียวข้องอ ืนๆ อีกมาก (ศูนย์วิจัยกสิกรไทย, 2550)
การเลีย งปลาสวยงามในประเทศไทยส่วนใหญ่เป็ นธุรกิจขนาดเล็ก ใช้แรงงานในครอบครัว ใช้
สถานท ีไม่มากนักและใช้การลงทุนน้อย เม ือเปรียบเทียบกับการเพาะเลีย งสัตว์นำ ประเภทอ ืน มีบางท ี
เท่านัน ท ีจะเลีย งปลาสวยงามเป็ นธุรกิจขนาดใหญ่และมีการจ้างแรงงาน เช่น การเลีย งปลาแฟนซีคาร์พ
และปลาปอมปาดัวร์เพื อการส่งออก โดยจะพบฟาร์มขนาดใหญ่ในกรุงเทพและปริมณฑล เนื องจากมีการ
คมนาคมที สะดวก (นิรนาม, ม.ป.ป.)
แหล่งเพาะพันธ์ุปลาสวยงามนำ จืดมีอยู่ทว ั ไปทัง ในกรุงเทพมหานครและต่างจังหวัด เช่น ราชบุรี
นครปฐม กรุงเทพมหานคร อุทัยธานี สุพรรณบุรีและอ่างทอง เป็นต้น ดังแผนภาพที 5-1 ปลาสวยงามที มี
ราคาสูง เช่น ปลาปอมปาดัวร์ ปลาออสการ์ แฟนซีคาร์พจะทำการเพาะเลีย งในกรุงเทพมหานครเป็นส่วน
ใหญ่ บริเวณปริมณฑลมีการเพาะเลีย งปลาสวยงามหลายชนิดเช่น ปลาสอด ปลาทอง ปลาหางนกยูง ใน
ต่างจังหวัดแหล่งท ีมีการเพาะเลีย งส่วนใหญ่อยู่บริเวณท ีราบลุ่มริมฝ ังแม่นำ และเขตชลประทาน โดยจะทำ
การเพาะกลุ่มปลาแม่นำ เช่น ปลาทรงคร ือง ปลาตะพาก ปลากาแดง ปลากาดำ ปลากาเผือก ปลานำ ผึง
และปลาเทวดา เป็นต้น
ฟาร์มปลาส่วนใหญ่อยู่ในจังหวัดราชบุรี(จำนวน 792 ฟาร์ม คิดเป็น 73.9% ของจำนวนฟาร์มปลา
สวยงามทัง หมดในประเทศไทย) โดยมีชนิดปลาท ีผลิตจำนวน 12 ชนิด ได้แก่ ปลาทอง ( 179 ฟาร์ม) ปลา
สอด( 114 ฟาร์ม) ปลาหางนกยูง ( 71 ฟาร์ม) ปลาตะเพียนทอง ( 57 ฟาร์ม) ปลาคาร์พ ( 12 ฟาร์ม) ปลา
หางไหม้ ( 8 ฟาร์ม) ปลาบอลลูน ( 6 ฟาร์ม) ปลาหมอสี ( 6 ฟาร์ม) ปลากาแดง ( 6 ฟาร์ม) ปลาทรงเครื อง (
4 ฟาร์ม) ปลากาดำ( 2 ฟาร์ม) และปลานำ ผึง ( 1 ฟาร์ม) (สถาบันวิจัยสัตว์นำ สวยงามและพรรณไม้นำ ,
2549)
จังหวัดราชบุรี ในอำเภอบ้านโป่ งมีผู้เพาะเลีย งปลาสวยงามมากท ีสุด ซ ึงจากข้อมูลหอการค้า
แหล่งเพาะพันธ์ุและเพาะเลีย งปลาสวยงามที สำคัญ
จังหวัดราชบุรี ปีบริหาร 2550-2551 รายงานว่า อ.บ้านโป่ง มีจำนวนบ่อ 11,114 บ่อ มีมากเป็นอันดับหนึ ง
ของประเทศและของโลก แยกเป็นฟาร์มขนาดใหญ่ 6% ขนาดกลาง 20% และขนาดเล็ก 74% และแยก
เป็นบ่อขนาดใหญ่ 52% กลาง 34% และเล็ก 14% ปลาท ีเลีย งเป็นส่วนใหญ่คือ ปลาทอง หมอสี กัด หาง
นกยูง บอลลูน ปอมปาดัวร์ และปลาแม่นำ ซ ึงข้อได้เปรียบของการเลีย งปลาสวยงามท ี อ.บ้านโป่ งคือ ติด
แม่นำ แม่นำ แม่กลอง และมีฟาร์มหมูจำนวนมาก ดังนัน จึงมีหนอนแมลงวันมากซ ึงสามารถนำมาเป็ น
อาหารปลาสวยงามได้
จังหวัดนครปฐมมีฟาร์มเลีย งปลาสวยงามมากเป็นอันดับสอง มีจำนวนผู้ขึน ทะเบียนไว้ทัง สิน 159
ราย จากการสุ่มสำรวจเกษตรกรในจังหวัดนครชัยศรี พบว่าส่วนใหญ่เพาะเลีย งปลากัด รองลงมาได้แก่
ปลาทอง และปลาหมอสี ตามลำดับ
นอกจากนัน มีฟาร์มเพาะเลีย งปลาสวยงามกระจายอยู่ตามจังหวัดอ ืนๆ ได้แก่ กรุงเทพมหานคร
เป็นแหล่งเพาะเลี ยงปลาสวยงามที มีราคาค่อนข้างแพง เช่น ปลาปอมปาดัวร์และปลาออสการ์
นอกจากนัน เช่น ปลากัด ปลาทอง ปลาหางนกยูงพบว่าเลีย งกันมากในเขตมีนบุรี
จังหวัดฉะเชิงเทรา ส่วนใหญ่นิยมเพาะปลาคาร์พ ปลาหางนกยูง และอีกหลายชนิด
จังหวัดนครสวรรค์ สุโขทัย และสุพรรณบุรี เป็นแหล่งท ีนิยมเพาะพันธ์ุปลาสำหรับการบริโภค เช่น
ปลานิล ปลาแรด ปลาสวาย เป็นต้น โดยจะขายปลาขนาดเล็กเพ ือเลีย งเป็นปลาสวยงาม (สถาบันวิจัยสัตว์
นำ สวยงามและพรรณไม้นำ , 2549)
เอกสารอ้างอิง
นิรนาม ม.ป.ป. ธุรกิจการเพาะเลีย งปลาสวยงาม แหล่งท ีมา :
http://www.siamaquaria.com/ ornamental_fish_business.htm, 15/05/52
ศูนย์วิจัยกสิกรไทย 2550 ธุรกิจปลาสวยงาม : ตลาดในประเทศเติบโตดี...ส่งออกยังแข่งขันรุนแรง
แหล่งที มา:
http://www.positioningmag.com/prnews/prnews.aspx?id=55714, 23/04/52
สถาบันวิจัยสัตว์นำ สวยงามและพรรณไม้นำ 2549 โครงการสำรวจข้อมูลตลาดปลาสวยงามและ
พรรณไม้นำ สถาบันวิจัยสัตว์นำ สวยงามและพรรณไม้นำ สำนักวิจัยและพัฒนาประมงนำ จืด
กรมประมง 148 หน้า

ไม่มีความคิดเห็น: